บทที่3
ปัจจัยที่มีอิธิพลต่อการเดินทางนักท่องเที่ยว
แรงจูงใจ
แรงจูงใจของนักท่องเที่ยวแต่งต่างไปจากแรงจูงใจในวิชาจิตวิทยา ซึ่งเป็นตัวกำหนดบุคลิกภาพของบุคคลแรงจูงใจทางด้านการท่องเที่ยว หรือแรงจูงใจของนักท่องเที่ยวเป็นแนวคิดที่เป็นแบบลูกผสมระหว่างแนวคิดทางจิตวิทยาผสมกับแนวคิดทางด้านสังคมวิทยาแรงจูงใจของนักท่องเที่ยวจึงหมายถึงเครือข่าย
ทฤษฏีต่างๆเกี่ยวกับแรงจูงใจของนักท่องเที่ยว
1. ทฤษฏีลำดับขั้นแห่งความต้องการจำเป็น(hierarchy of needs)
2. ทฤษฏีขั้นบันไดแห่งการเดินทาง(travel career ladder)
3. แรงจูงใจวาระซ่อนเร้น(hidden agenda)
4. แรงจูงในทางการท่องเที่ยวในทัศนะของ swarbrooke
1. ทฤษฏีลำดับขั้นแห่งความต้องการจำเป็น(hierarchy of needs)
2. ทฤษฏีขั้นบันไดแห่งการเดินทาง(travel career ladder)
3. แรงจูงใจวาระซ่อนเร้น(hidden agenda)
4. แรงจูงในทางการท่องเที่ยวในทัศนะของ swarbrooke
ในหนังสือเรื่องconsumer behavior in tourismของjohn swarbookeซึ่งตีพิมพ์ในปีค.ศ.1999swarbooke จำแนกแรงจูงใจสำคัญๆที่ทำให้คนเดินทางออกเป็น 6ชนิด ด้วยกันที่แสดงอยู่ในแผนภูมิที่3แรงจูงใจเหล่านี้ได้แก่
1. แรงจูงใจทางด้านสรีระหรือทางกายภาพ(physical)
2. แรงจูงใจทางด้านวัฒนธรรม
3. การท่องเที่ยวเพื่อตอบสนองอารมณ์ควารู้สึกบางอย่าง
4. การท่องเที่ยวเพื่อให้ได้มาเพื่อสถานภาพ
5. แรงจูงใจในการพัฒนาตนเอง
6. แรงจูงใจส่วนบุคคล
จากแนวคิดเกี่ยวกับแรงจูงใจในทัศนะของนักวิชาการด้านแรงจูงใจทั้ง4คนที่ได้กล่าวมาแล้วสามารถสรุปได้ว่า ในการที่นักท่องเที่ยวจะเลือกแหล่งที่ท่องเที่ยวแห่งใดแห่งหนึ่งไม่ได้เกิดจากแรงจูงใจอย่างใดอย่างหนึ่งเพียงอย่างเดียว แต่การตัดสินใจที่จะไปท่องเที่ยวมักจะเกิดจากแรงจูงใจหลายๆอย่างในเวลาเดียวกันเช่น การที่คู่สมรสชาวฮ่องกงผู้หนึ่งตัดสินใจเดินทางมาเที่ยวประเทศไทย
แนวโน้มของแรงจูงใจของนักท่องเที่ยว Pearce Morrison และRutledge (1998) ได้นำเสนอแรงจูงใจของนักท่องเที่ยว 10 ประการดังต่อไปนี้
1. แรงจูงใจที่จะได้สัมผัสสิ่วแวดล้อม
2. แรงจูงใจที่ได้พบปะกับคนในท้องถิ่น
3. แรงจูงใจที่จะที่จะเข้าใจวัฒนธรรมท้องถิ่นและประเทศเจ้าบ้าน
4. แรงจูงใจที่จะเสริมสร้างสัมพันธภาพภายในครอบครัว
5. แรงจูงใจที่จะพักผ่อนในสภาพแวดล้อมที่น่าสบาย
6. แรงจูงใจที่จะที่จะได้ทำกิจกรรมที่นักท่องเที่ยวสนใจและฝึกทักษะ
7. แรงจูงใจที่จะมีสุขภาพดี
8. แรงจูงใจที่จะได้รับการคุ้มกันและความปลอดภัย
9. แรงจูงใจที่จะได้รับการยอมรับนับถือและได้รับสถานภาพทางสังคม
10. แรงจูงใจที่จะให้รางวัลแก่ตัวเอง
ตัวอย่างการวิจัยที่ใช้วิธีการศึกษาจากกลุ่มเป้าหมาย
นักเดินทางประเภทแบกเป้นักเดินทางแบบนี้กำลังเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆในออสเตรเลีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้และนิวซีแลนด์ แรงจูงใจที่ทำให้เกิดการเดินทางลักษณะแบบนี้อาจจะสรุปได้เป็น 4 มิติด้วยกันดังต่อไปนี้
1. การหลีกหนี(escape)
2. การมุ่งเน้นในเรื่องสิ่วแวดล้อม
3. การทำงาน(employment)
4. เน้นการคบหาสมาคม(social focus
นักเดินทางประเภทแบกเป้นักเดินทางแบบนี้กำลังเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆในออสเตรเลีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้และนิวซีแลนด์ แรงจูงใจที่ทำให้เกิดการเดินทางลักษณะแบบนี้อาจจะสรุปได้เป็น 4 มิติด้วยกันดังต่อไปนี้
1. การหลีกหนี(escape)
2. การมุ่งเน้นในเรื่องสิ่วแวดล้อม
3. การทำงาน(employment)
4. เน้นการคบหาสมาคม(social focus
โครงสร้างพื้นฐานในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
โครงสร้างพื้นฐานในอุคสาหกรรมการท่องเที่ยว หมายถึง องค์ประกอบพื้นฐานในการรองรับการท่องเที่ยวทั้งระบบ ถือเป็นส่วนการสนับสนุนให้การท่องเที่ยวสามารถดำเนินงานไปได้ด้วยดี และทำให้เกิดความสะดวกสบายรวดเร็วในการดำเนินธุรกิจเกี่ยวกับการท่องเที่ยว
โครงสร้างพื้นฐานอุตสาหกรรมได้แก่
1. ระบบไฟฟ้า
2. ระบบประปา
3. ระบบสือสารโทรคมนาคม
4. ระบบการขนส่งประกอบไปด้วย
-ระบบการเดินทางทางอากาศ
-ระบบการเดินทางทางบก
-ระบบการเดินทางทางน้ำ
5. ระบบสาธารณสุข
1. ระบบไฟฟ้า
2. ระบบประปา
3. ระบบสือสารโทรคมนาคม
4. ระบบการขนส่งประกอบไปด้วย
-ระบบการเดินทางทางอากาศ
-ระบบการเดินทางทางบก
-ระบบการเดินทางทางน้ำ
5. ระบบสาธารณสุข
ปัจจัยที่ส่งเสริมการท่องเที่ยวในแต่ละภูมิภาค
การที่บนโลกมีสภาพแวดล้อมที่แตกต่างออกไปจำทำให้เกิดภูมิทัศน์ทางธรรมชาติและลักษณะทางวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน ประกอบกับการที่มนุษย์มักต้องการเดินทางท่องเที่ยวไปยังบริเวณต่าง ๆ ที่มีสภาพแวดล้อมแตกต่างออกไปจากที่ตนเองอาศัยอยู่ ส่งผลให้เกิดการเดินทางท่องเที่ยวไปยังบริเวณต่างๆบนผิวโลก จึงเห็นว่าปัจจัยทางภูมิศาสตร์และปัจจัยทางวัฒนธรรมเป็นสิ่งสำคัญที่ช่วยดึงดูดนักท่องเที่ยวแต่ละคนเดินทางออกจากแหล่งที่ตนเองอาศัยอยู่
1.ปัจจัยทางภูมิศาสตร์
-ลักษณะภูมิประเทศ
-ลักษณะภูมิอากาศ
2.ปัยจัยทางวัฒนธรรม
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น